หน่วยงาน : สำนักหอสมุด

พัฒนาระบบโดย นายกุลชาติ ปัญญาดี สำนักดิจิทัลเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

เบอร์ติดต่อ

0-5388-5900

โทรสาร

0-5388-5900

คำอธิบายตัวบ่งชี้


เพื่อให้หน่วยงานมีระบบบริหารความเสี่ยง โดยการบริหารและควบคุมปัจจัยกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงานที่อาจเป็นมูลเหตุของความเสียหาย (ทั้งในรูปของตัวเงิน หรือไม่ใช่ตัวเงิน เช่น ชื่อเสียงและการฟ้องร้องจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า) เพื่อให้ระดับความเสี่ยง และขนาดของความเสี่ยหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับที่ยอมรับและควบคุมได้ โดยคำนึงถึงการเรียนรู้วิธีการป้องกันจากการคาดการณ์ปัญหาล่วงหน้า และโอกาสในการเกิดเพื่อป้องกันหรือบรรเทาความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการมีแผนสำรองต่อภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้มั่นใจว่าระบบงานต่าง ๆ มีความพร้อมใช้งาน มีการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง และทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อการบรรลุเป้าหมายของหน่วยงานตามยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์เป็นสำคัญ

หมายเหตุ  คะแนนการประเมินจะเท่ากับ 0 หากพบว่าเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นภายในหน่วยงานในรอบปี   การประเมินที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความปลอดภัยของบุคลากร ผู้รับบริการ หรือต่อชื่อเสียงภาพลักษณ์ หรือต่อความมั่นคงทางการเงินของหน่วยงาน อันเนื่องมาจากความบกพร่องของหน่วยงาน ในการควบคุม หรือจัดการกับ ความเสี่ยง หรือปัจจัยเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมีหลักฐานประกอบที่ชัดเจน

เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง

  1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงาน
  2. เอกสารการวิเคราะห์และระบุความเสี่ยง และปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงของหน่วยงาน
  3. เอกสารการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยงและจัดลำดับความเสี่ยงของหน่วยงาน
  4. แผนบริหารความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง และรายงานผลการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง
  5. เอกสารหลักฐานการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผน และเอกสาร หรือรายงานการประชุมที่แสดงถึงรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผน ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและสำนักงานตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลัย

เอกสารหลักฐานการนำผลการประเมิน และข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและสำนักงานตรวจสอบภายในของมหาวิทยาลัย ไปใช้ในการปรับแผนบริหารความเสี่ยงในรอบปีถัดไป


รอบระยะเวลา



เกณฑ์มาตรฐาน


เกณฑ์มาตรฐาน

  1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงโดยมีผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานและตัวแทน               ที่รับผิดชอบตามพันธกิจหลักของหน่วยงาน
  2. มีการสำรวจความเสี่ยง วิเคราะห์ และสังเคราะห์ประเด็นความเสี่ยง รวมทั้งจัดลำดับความเสี่ยง และจัดทำแผนบริหารความเสี่ยง อย่างน้อย 3 ประเด็นแรกที่มีความเสี่ยงสูงสุด ซึ่งครอบคลุมในประเด็นจากตัวอย่างต่อไปนี้
  • ความเสี่ยงด้านทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานที่)
  • ความเสี่ยงด้านยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ของหน่วยงาน
  • ความเสี่ยงด้านนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ
  • ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน เช่น ความเสี่ยงของกระบวนการบริหาร ระบบงาน ระบบการประกันคุณภาพ
  • ความเสี่ยงด้านบุคลากรและความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของบุคลากร
  • ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภายนอก
  1. ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ในข้อ 2
  2. มีการกำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและรายงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานและมหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  3. มีการนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานและมหาวิทยาลัยไปใช้ในการปรับแผนบริหารความเสี่ยงในรอบปีถัดไป

หมายเหตุ  คะแนนการประเมินจะเท่ากับ 0 หากพบว่าเกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นภายในหน่วยงานในรอบปี   การประเมินที่ส่งผลกระทบต่อชีวิตและความปลอดภัยของบุคลากร ผู้รับบริการ หรือต่อชื่อเสียงภาพลักษณ์ หรือต่อความมั่นคงทางการเงินของหน่วยงาน อันเนื่องมาจากความบกพร่องของหน่วยงาน ในการควบคุม หรือจัดการกับ ความเสี่ยง หรือปัจจัยเสี่ยงที่ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ โดยมีหลักฐานประกอบที่ชัดเจน


เกณฑ์การประเมิน

มีการดำเนินการ 1 ข้อ

มีการดำเนินการ 2 ข้อ

มีการดำเนินการ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ 4 ข้อ

มีการดำเนินการ 5 ข้อ

5

5

5

บรรลุ

5

จุดแข็ง

-


จุดที่ควรพัฒนา

-


ข้อเสนอแนะ

-


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธินันท์ ชื่นชม 053-885901
นางเสาวนีย์ สุริยะเจริญ 053-885900

1. หน่วยงานจัดให้มีการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อให้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลแก่ผู้มีส่วนได้เสียของหน่วยงานว่าหน่วยงานได้ดำเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงาน


     มหาวิทยาลัยกำหนดให้ หน่วยงานภายในบริหารจัดการความเสี่ยง ตามประกาศหลักเกณฑ์ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2562  ของกระทรวงการคลัง (เอกสารหมายเลข 1.5-1-1)

            สำนักหอสมุด ได้ใช้แนวทาง จากกระทรวงการคลังดังกล่าว มาบริหารจัดการความเสี่ยงโดยการบริหารจัดการความเสี่ยงประจำงบประมาณ 2565 ของสำนักหอสมุด มีการวิเคราะห์ประเด็นความเสี่ยง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานสากล Committee of Sponsoring of the Treadway Commission : COSO  4 ด้าน คือ

            1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : SR)

            2. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk : FR)

            3. ความเสี่ยงเรื่องการดำเนินงาน (Operation Risk : OR)

            4. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk : CR)

 

            สำนักหอสมุด มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน มีหน้าที่ ในการ วิเคราะห์ความเสี่ยง วางระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงและประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นพร้อมทั้งกำหนดมาตรการแนวทางการแก้ไข ลด และป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมีผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงใน 4 ด้านประจำปีงบประมาณ 2565 ดังนี้

 

ประเภทความเสี่ยง

โอกาส (L)

ผล

กระทบ (I)

ระดับคะแนน

ระดับ

1) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์  (Strategic Risk : SR)

 

SR1  ยุทธศาสตร์/แผนงานไม่สอดคล้องกันระหว่างหน่วยงานกับองค์กร

1

3

3

ต่ำ

SR2  แผนกลยุทธ์หน่วยงานไม่สามารถ นำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์กร 

1

3

3

ต่ำ

2) ความเสี่ยงด้านการเงิน  (Financial Risk : FR)

 

FR1 การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

1

3

3

ต่ำ

3) ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน  (Operation  Risk : OR)

 

OR1  ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

4

5

20

สูงมาก

OR2  โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง

4

3

12

สูง

OR3  การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม : กรณีสถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ

4

4

 

16

สูง

4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk : CR)

 

CR1 ไม่รู้เท่าทันกฎหมายใหม่

2

3

6

ปานกลาง

CR2  การทุจริต (ว 105 ข้อ 8)

1

2

2

ต่ำ

 

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
1.5-1-1 หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0409.3/ว36 ลงวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564 เรื่อง แนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานของรัฐ เรื่อง หลักการบริหารจัดการความเสี่ยงระดับองค์กร
1.5-1-2 แผนความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ 2565 (หน้า 17)

2. หน่วยงานจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการบริหารจัดการความเสี่ยงภายในองค์กร อย่างน้อยประกอบด้วย การมอบหมายผู้รับผิดชอบเรื่องการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัฒนธรรมของหน่วยงานที่ส่งเสริมการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการบริหารทรัพยากรบุคคล

ผลการดำเนินงาน


สำนักหอสมุด  มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ซึ่งประกอบด้วย ผู้บริหารของหน่วยงาน หัวหน้างานและตัวแทนบุคลากรแต่ละฝ่ายงานเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน โดยได้กำหนดภาระหน้าที่การทำงานอย่างชัดเจน คือ วิเคราะห์ความเสี่ยง และวางระบบการบริหารงานด้านต่างๆ รวมถึงประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น พร้อมทั้งกำหนดมาตรการแนวทางการแก้ไข ลด และป้องกันความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น  (เอกสารหมายเลข  1.5-2-1, 1.5-2-2)

           สำนักหอสมุด มีการสร้างความตระหนักให้แก่บุคลากร เรื่องบริหารจัดการความเสี่ยงของสำนักหอสมุด ทุกปี โดยในปีงบประมาณ 2565 ได้มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การทบทวนแผนบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักหอสมุด ประจำปีงบประมาณ 2565  เมื่อ วันพฤหัสบดี ที่ 16  ธันวาคม พ.ศ. 2564  เพื่อส่งเสริมการบริหารจัดการความเสี่ยงเป็นวัฒนธรรมขององค์กร  โดยให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงของสำนัก และมีบุคลากร เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้บริหารสำนักหอสมุดใช้แนวทางการบริหารความเสี่ยง  ดังจะเห็นได้จากการตั้งงบประมาณด้านการบริหารความเสี่ยงในทุกปี และการบริหารความเสี่ยงให้เป็นภาระงานของบุคลากร (TOR)  เพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน ของบุคลากรทุกคน  เพื่อสนับสนุนให้สามารถดำเนินงานด้านความเสี่ยงเป็นไปตามแผนที่วางไว้ และรายงานต่อผู้บริหาร บริหารทรัพยากรบุคลากร โดยการเพิ่มความรู้ให้บุคลากร  (เอกสารหมายเลข1.5-2-3, 1.5-2-4)

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
1.5-2-1 คำสั่งที่ 29/2563 ลงวันที่ 1 ตุลาคม 2562 และคำสั่ง 07/2563 ลงวันที่ 1 กันยายน 2563 เรื่อง แต่งตั้ง คณะ กรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภาย ใน สำนักหอสมุด
1.5-2-2 รายงานผลการการอบรมเชิงปฏิบัติการปฏิบัติการการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565 (ครั้งที่ 1)
1.5-2-3 หนังสือเชิญเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติ การการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ประจำปี 2565
1.5-2-4 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2565
1.5-2-5 โครงการพัฒนางานด้านประกันคุณภาพการ ศึกษาการดำเนินการเพื่อการจัดการความรู้ (KM) และการดำเนินการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565

3. หน่วยงานมีการกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมถึงการสื่อสารการบริหารจัดการความเสี่ยงของวัตถุประสงค์ด้านต่าง ๆ ต่อบุคลากรที่เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงาน


สำนักหอสมุด ได้มีการกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการความเสี่ยงขององค์กรใน 4 ประเด็นได้แก่

1. วัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ (Strategic Objectives)

    เพื่อให้ดำเนินการตามกลยุทธ์ของสำนักหอสมุด     มีการทบทวนแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงาน และแผนอื่นๆ ของสำนักหอสมุด ให้สอดคล้องกับพันธกิจของสำนักหอสมุด เพื่อช่วยขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย และตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติงานในหน่วยงาน อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี

2. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติงาน (Operations Objectives)

    เพื่อให้การปฏิบัติงานและป้องกัน ควบคุม เหตุการณ์อันจะเป็นอุปสรรค ต่อการปฏิบัติงาน การบริหารงาน และให้หน่วยงานสามารถดำเนินงานบรรลุตามแผนปฏิบัติการ ตามพันธกิจสำนักหอสมุด

3. วัตถุประสงค์ด้านการรายงานผล (Reporting Objectives)

     เพื่อสามารถรายงานผลการดำเนินงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

4. วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Objectives)

    เพื่อให้การสอบทานการปฏิบัติงานตามระเบียบ ข้อบังคับ ข้อกำหนด และให้เป็นตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ถูกต้องตามระเบียบ ข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัย

            สำนักหอสมุดมีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและบุคลากร เพื่อเป็นการสื่อสารในด้านกระบวนการดำเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง  และสื่อสารทำความเข้าใจ เป็นในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ดังนี้

        1. สำนักหอสมุดได้ ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2565  เมื่อวันอังคาร ที่  7 ธันวาคม 2564  เพื่อวางนโยบายการในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน และตามพันธกิจหน่วยงาน (เอกสารหมายเลข  1.5-3-3)

        2. สำนักหอสมุดได้มีการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักหอสมุด ประจำปีงบประมาณ 2565  เมื่อวันพฤหัสบดี  ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2564  สำนักหอสมุดได้เชิญ อาจารย์ณภัค  อุทัยมณีรัตน์  ผู้ช่วยอธิการบดีประจำวิทยาเขตฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติวิทยาเขตเชียงใหม่  เป็นวิทยากร ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting  (เอกสารหมายเลข  1.5-3-2)

         3. สำนักหอสมุดมีการดำเนินการติดตามแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน  โดยติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรม ทั้ง 4 ด้าน  ได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ด้านการเงิน ด้านการปฏิบัติงาน  และด้านการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบ  และรายงานผลการกำกับ ติดตามและผลประเมิน ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของสำนักหอสมุดและบุคลากรสำนักหอสมุด ในการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่  7  ธันวาคม 2564  และการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน  2565  (เอกสารหมายเลข 1.5-3-3, 1.5-3-4)

         4. สำนักหอสมุดมี สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ติดตามการดำเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง จากแต่ละฝ่ายงาน ของสำนักหอสมุด (เอกสารหมายเลข  1.5-3-5)

         5. สำนักหอสมุดได้มีการจัดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักหอสมุด ประจำปีงบประมาณ 2565  เมื่อ วันพุธ ที่ 27  กรกฎาคม  2565พ.ศ. 2565  สำนักหอสมุดได้เชิญ อาจารย์ณภัค  อุทัยมณีรัตน์  ผู้ช่วยอธิการบดีประจำวิทยาเขตฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติวิทยาเขตเชียงใหม่  เป็นวิทยากร เพื่อทบทวนและจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ณ ห้องประชุมเอื้องสายเชียงใหม่  ชั้น 8  อาคารสำนักหอสมุด   (เอกสารหมายเลข  1.5-3-6)

          6. สำนักหอสมุดได้จัดทำรายงานผลแผนบริหารความเสี่ยงต่อมหาวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 1.5-3-7)

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
1.5-3-1 แผนความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ 2565 (หน้า 8)
1.5-3-2 รายงานผลการการอบรมเชิงปฏิบัติการปฏิบัติการ การทบทวนแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565 (ครั้งที่ 1)
1.5-3-3 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2565
1.5-3-4 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 2/2565
1.5-3-5 รายงานการประชุมฝ่ายงานบริหารทั่วไป เรื่อง การจัดการแผนบริหารความเสี่ยง
1.5-3-6 สรุปผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2565 (ครั้งที่ 2)
1.5-3-7 รายงานแผนบริหารความเสี่ยงสำนัก หอสมุด 2565

4. หน่วยงานมีการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การตอบสนองความเสี่ยง การจัดลำดับความเสี่ยง จากประเด็นดังต่อไปนี้

  • ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : SR)
  • ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk : FR)
  • ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operation Risk : OR)
  • ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk : CR)

ผลการดำเนินงาน


สำนักหอสมุด ได้มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ และจัดประชุมของบุคลากรโดยร่วมกันวิเคราะห์ความเสี่ยง ระบุปัจจัยเสี่ยง ประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง รวมถึงจัดลำดับความเสี่ยงสูงสุด (เอกสารหมายเลข 1.5-4-1) ได้ดังนี้

 

 

 

 

 

 

ความเสี่ยง

ปัจจัยเสี่ยง

ความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น

1) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์  (Strategic Risk : SR)

SR1  แผนกลยุทธ์หน่วยงานไม่สามารถนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์กร 

SR1.1 ไม่ได้ทบทวนแผนกลยุทธ์ตามระยะเวลาที่กำหนด

การดำเนินงานของหน่วยงานไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์มหาวิทยาลัย

 

2) ความเสี่ยงด้านการเงิน  (Financial Risk : FR)

FR1  การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

FR1.1 ไม่ได้มีการกำกับติดตามการเบิกจ่าย

เป็นปัจจัยทำให้การเบิกจ่ายงบประมาณของมหาวิทยาลัยอาจไม่เป็นไปตามค่าเป้าหมาย

3) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ  (Operational  Risk : OR)

OR1  ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

OR1.1 ไม่มีผู้เข้าใช้บริการ

 

ใช้งบประมาณไม่คุ้มค่า

OR2  โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง

OR2.1  ฝุ่นละอองภายในอาคาร

โรคระบบทางเดินหายใจ ,หายใจไม่สะดวก อากาศ   อับชื้น

OR3  การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม : กรณีสถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ

OR3.1 นกพิราบมาอาศัยบริเวณอาคารสำนักหอสมุด จำนวนมาก

มีโอกาสที่จะเกิดโรคที่กระทบต่อสุขภาพ

4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ  (Compliance Risk : CR)

CR1  ไม่รู้เท่าทันกฎหมายใหม่

 

CR1.1 ไม่ได้รับการฝึกอบรมด้านระเบียบหรือกฎหมายที่เป็นปัจจุบัน

การดำเนินงานไม่เป็นไปตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน

CR2  การทุจริต (ว 105 ข้อ 8)

 

CR2.1 แรงจูงใจ  โอกาส ข้ออ้าง

มหาวิทยาลัยเกิดความสูญเสีย สูญเปล่าทางทรัพยากร

 

การประเมินความเสี่ยง

สำนักหอสมุดได้ดำเนินการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ตามกระบวนการประเมินความเสี่ยง 4 ขั้นตอน ดังนี้

1) การกำหนดเกณฑ์ประเมินความเสี่ยง

กำหนดเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงไว้เป็น 3 ขั้นตอนย่อย ได้แก่

     1.1 การกำหนดระดับความเสี่ยง

สำนักหอสมุด ได้กำหนดระดับความเสี่ยง (Degree of Risks)

ซึ่งแสดงถึงระดับความสำคัญในการบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณาจากผลคูณของระดับโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) กับระดับความรุนแรงของผลกระทบ (Impact) ของความเสี่ยงแต่ละสาเหตุ (โอกาส x ผลกระทบ) ซึ่งระดับความเสี่ยงแบ่งตามความสำคัญเป็น 4 ระดับ ดังนี้

 

ระดับความเสี่ยง

ระดับคะแนน

การยอมรับ

ความหมาย

สูงมาก

20-25

ยอมรับไม่ได้

ความเสี่ยงที่ต้องกำกับดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งต้องบริหารความเสี่ยงทันที

สูง

10-19

ยอมรับไม่ได้

ความเสี่ยงที่ต้องกำกับดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งต้องบริหารความเสี่ยงทันที

ปานกลาง

4-9

ยอมรับได้

ความเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวังซึ่งจะต้องบริหารความเสี่ยงโดยให้ความสนใจ

ต่ำ

1-3

ยอมรับได้

เฝ้าระวังความเสี่ยงที่ใช้วิธีควบคุมปกติไม่ต้องมีการจัดการเพิ่มเติม

 

 

 

 

 

 

1.2 เกณฑ์ประเมินโอกาส (Likelihood : L)

     สำนักหอสมุด กำหนดเกณฑ์ประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood : L) โดยแบ่ง ไว้เป็น 5 ระดับ (เรียงจากมากไปน้อย) ได้แก่ ระดับ 5 (สูงมาก) ระดับ 4 (สูง) ระดับ 3 (ปานกลาง) ระดับ 2 (น้อย) และระดับ 1 (น้อยมาก) อีกทั้งกำหนดประเด็นโอกาสที่จะเกิดขึ้นไว้ จำนวน  4 ประเด็น ได้แก่ L1 – L9 ดังต่อไปนี้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ระดับ

 

 

โอกาส

L1

L2

L3

L4

ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง

การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม:กรณี  สถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ

แผนกลยุทธ์หน่วยงานไม่สามารถ นำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์กร 

5

สูงมาก

การใช้งานทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์    ไม่ถึง 60%

มีผลกระทบต่อสุขภาพสูงมาก

โอกาสที่จะเกิดโรคสูงมากกว่า 80 %

มีแผนกลยุทธ์และบรรลุตามแผนน้อยกว่าร้อยละ 20

4

สูง

การใช้งานทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ไม่ถึง 50%

มีผลกระทบต่อสุขภาพสูง

โอกาสที่จะเกิดโรคมากกว่า 60 %

มีแผนกลยุทธ์และบรรลุตามแผนมากกว่าร้อยละ 20-40

3

ปานกลาง

การใช้งานทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ไม่ถึง 40%

มีผลกระทบต่อสุขภาพปานกลาง

โอกาสที่จะเกิดโรคมากกว่า 50 %

มีแผนกลยุทธ์และบรรลุตามแผนมากกว่าร้อยละ  40-60

2

น้อย

การใช้งานทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ไม่ถึง 30%

มีผลกระทบต่อสุขภาพน้อย

โอกาสที่จะเกิดโรคมากกว่า 25 %

มีมีแผนกลยุทธ์และบรรลุตามแผนมากกว่าร้อยละ 60-80

1

น้อยมาก

การใช้งานทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ไม่ถึง 30%

ไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

โอกาสที่จะเกิดโรคน้อยกว่า 10%

มีแผนกลยุทธ์และบรรลุตามแผนมากกว่าร้อยละ 80

 

 

 

 

 

ระดับ

 

 

โอกาส

L5

L6

L7

การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

ปฏิบัติผิดกฎระเบียบ ไม่รู้ทันกฎหมายใหม่

การทุจริต (ตาม ว105 ข้อ 8)

5

สูงมาก

เบิกจ่ายไม่ทันมากกว่า

5 โครงการ

< 15  ชม.

เกิดการทุจริตมากกว่า

6 โครงการ

4

สูง

เบิกจ่ายไม่ทัน

4 โครงการ

 15-19  ชม.

เกิดการทุจริตน้อยกว่า

5 โครงการ

3

ปานกลาง

เบิกจ่ายไม่ทัน

3 โครงการ

20-24  ชม.

เกิดการทุจริตน้อยกว่า

3 โครงการ

2

น้อย

เบิกจ่ายไม่ทัน

2 โครงการ

 25-29  ชม.

เกิดการทุจริตน้อยกว่า

2 โครงการ

1

น้อยมาก

เบิกจ่ายไม่ทันน้อยกว่า 1 โครงการ

> 30 ชม.

เกิดการทุจริตเป็น 0

 

 

 

 

 

1.3 เกณฑ์ประเมินผลกระทบ  (Impact : I)

      สำนักหอสมุด กำหนดเกณฑ์ประเมินผลกระทบที่จะเกิดความเสี่ยง (Impact : I)  โดยแบ่ง ได้แก่ ระดับ 5 (สูงมาก) ระดับ 4 (สูง) ระดับ 3 (ปานกลาง) ระดับ 2 (น้อย) และระดับ 1 (น้อยมาก) อีกทั้งกำหนดประเด็นโอกาสที่จะเกิดขึ้น จำนวน 4 ประเด็น ได้แก่ I1-I9 ดังต่อไปนี้

ระดับ

ผลกระทบ

ความรุนแรงที่จะเกิด

I1

I2

I3

I4

ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง

การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม : กรณีสถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ)

แผนกลยุทธ์หน่วยงานไม่สามารถ นำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์กร

5

สูงมาก

เสียงบประมาณ

30 %

ค่า AQI 201 ขึ้นไป

เป็นโรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบ

ไม่มีแผนกลยุทธ์

4

สูง

เสียงบประมาณ

40 %

ค่า AQI 101 - 200

เป็นโรคไข้หวัดนก โรคเชื้อราในปอด โรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบ

ไม่สามารถดำเนินงานตามยุทธศาสตร์

3

ปานกลาง

เสียงบประมาณ 50 %

ค่า AQI 51 - 100

เป็นโรคระบบทางเดินหายใจ

ทำงานตามยุทธศาสตร์ได้บางส่วน

2

น้อย

เสียงบประมาณ 60 %

ค่า AQI 26 - 50

เป็นโรคเครียด

ทำงานตามยุทธศาสตร์

1

น้อยมาก

เสียงบประมาณ 70 %

ค่า AQI 0 - 25

ไม่เป็น

ทำงานได้ตามแผนขององค์กร

 

 

 

 

 

ระดับ

ผลกระทบ

ความรุนแรงที่จะเกิด

I5

I6

I7

การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

ปฏิบัติผิดกฎระเบียบ ไม่รู้ทันกฎหมายใหม่

การทุจริต (ตาม ว105 ข้อ 8)

5

สูงมาก

ไม่มีการเบิกจ่าย

ทำผิดกฎหมาย

>500,000 บาท

4

สูง

งบประมาณคงเหลือ 80

ผิดกฎหมายบางเรื่อง

>100,000-500,000 บาท

3

ปานกลาง

งบประมาณคงเหลือ 50

ปฏิบัติตามกฎหมายได้เป็นบางประเด็น

>10,000-100,000 บาท

2

น้อย

งบประมาณคงเหลือ 20

ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

>1,000-10,000 บาท

1

น้อยมาก

เบิกจ่ายได้ครบ

ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง

<1,000 บาท

 

 

 

 

 

 

 

 

2) การประเมินโอกาสและผลกระทบของความเสี่ยง

     สำนักหอสมุด ได้ดำเนินการประเมินความเสี่ยงประกอบด้วย 2 มิติ คือ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Likelihood) และผลกระทบของความเสี่ยง (Impact) โดยแสดงเป็นผลคูณของโอกาสและผลกระทบ

คะแนนความเสี่ยง  =  โอกาส  x  ผลกระทบ

ประเภทความเสี่ยง

โอกาส (L)

ผลกระทบ (I)

ระดับคะแนน

หมายเหตุ

1) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์  (Strategic Risk : SR)

SR1  แผนกลยุทธ์หน่วยงานไม่สามารถ นำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์กร

1

3

3

 

2) ความเสี่ยงด้านการเงิน  (Financial Risk : FR)

FR1  การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

1

3

3

 

3) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ  (Operation  Risk : OR)

OR1  ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

4

5

20

 

OR2  โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง

4

3

12

 

OR3  การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม : กรณีสถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ

4

4

16

 

4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk : CR)

CR1  ไม่รู้เท่าทันกฎหมายใหม่

2

3

6

 

CR2  การทุจริต (ว 105 ข้อ 8)

 

4

2

2

 

 

 

3) การวิเคราะห์ความเสี่ยง

สำนักหอสมุด ได้วิเคราะห์ความเสี่ยง โดยประเมินความเสี่ยงทั้ง 4 ประเภท ออกมา

เป็นระดับความเสี่ยง 4 ระดับ ได้แก่ ระดับสูงมาก (คะแนน 20-25) ระดับสูง (คะแนน 9-19) ระดับปานกลาง (คะแนน 4-8) และ ระดับต่ำ (คะแนน 1-3) ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์การกำหนดระดับความเสี่ยง

ประเภทความเสี่ยง

โอกาส (L)

ผลกระทบ (I)

ระดับคะแนน

ระดับความเสี่ยง

1) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์  (Strategic Risk : SR)

SR1  แผนกลยุทธ์สำนักหอสมุดไม่สามารถ นำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์ 

1

3

3

ต่ำ

2)  ความเสี่ยงด้านการเงิน  (Financial Risk : FR)

FR1  การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

1

3

3

ต่ำ

3) ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operation Risk : OR)

OR1  ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

4

5

20

สูงมาก

OR2  โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง

4

3

12

สูง

OR3  การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม : กรณีสถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ

4

4

16

สูง

4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk : CR)

CR1  ไม่รู้เท่าทันกฎหมายใหม่

 

2

3

6

ปานกลาง

CR2  การทุจริต (ว 105 ข้อ 8)

 

1

2

2

ต่ำ

 

4) การจัดลำดับความเสี่ยง

     สำนักหอสมุด ได้ดำเนินการจัดลำดับความเสี่ยง ภายหลังจากการวิเคราะห์ความเสี่ยงแล้ว เพื่อให้หน่วยงานสามารถจัดลำดับความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบ ต่อวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน และสามารถนำมาพิจารณากำหนดมาตรการควบคุมความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม โดยพิจารณาจากระดับคะแนน ความเสี่ยง ดังตารางต่อไปนี้

 

ผลการจัดลำดับความเสี่ยงพบว่า ความเสี่ยงด้านการดำเนินงานมีค่าคะแนนสูงสุด (Operation  Risk : OR)

ประเภทความเสี่ยง

โอกาส (L)

ผลกระทบ (I)

ระดับคะแนน

ระดับความเสี่ยง

ลำดับ

OR1  ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

4

5

20

สูงมาก

1

OR3  การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม : กรณีสถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ

4

4

16

สูง

2

OR2  โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง

4

3

12

สูง

4

 

 (เอกสารหมายเลข 1.5-4-1)

 

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
1.5-4-1 รายงานแผนบริหาร ความเสี่ยง สำนักหอสมุด ปีงบประมาณ 2565 (หน้าที่ 4-18)

5. หน่วยงานจัดทำแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้งและต้องมีการสื่อสารแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายรับทราบ

ผลการดำเนินงาน


สำนักหอสมุดได้ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันอังคาร ที่  7  ธันวาคม 2564  เพื่อวางนโยบายการในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน และตามพันธกิจหน่วยงาน (เอกสารหมายเลข  1.5-5-1)

        สำนักหอสมุดได้ประกาศนโยบายการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ของสำนักหอสมุด  เพื่อเป็นการสื่อสารด้านกระบวนการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงให้เข้าใจตรงกันและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีการประชาสัมพันธ์นโยบายแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน บนเว็บไซต์สำนักหอสมุดและบอร์ดประชาสัมพันธ์  (เอกสารหมายเลข 1.5-5-2, 1.5-5-3)     

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
1.5-5-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2565
1.5-5-2 ประกาศนโยบายการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของสำนักหอสมุด
1.5-5-3 ภาพ ประชาสัมพันธ์ทางเว็บไซต์ และบอร์ดประชาสัมพันธ์

6. มีการกำกับติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยงและทบทวนแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอ และรายงานการบริหารจัดการความเสี่ยงต่อมหาวิทยาลัยอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

ผลการดำเนินงาน


สำนักหอสมุดมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยงและทบทวนแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยใช้การประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง การประชุมบุคลากร และการจัดกิจกรรมอบรมการจัดการทำแผนบริหารความเสี่ยง เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับ ติดตาม ทั้งนี้ตลอดการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2565 มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบ เพื่อร่วมหาข้อเสนอแนะในการดำเนินการแก้ไขปัญหา อุปสรรค ดังนี้

         1. มีการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันอังคาร ที่  7  ธันวาคม 2564  เพื่อวางนโยบายการในการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน และตามพันธกิจหน่วยงาน (เอกสารหมายเลข  1.5-6-1)

        2. มีการจัดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักหอสมุด ประจำปีงบประมาณ 2565  เมื่อวันพฤหัสบดี  ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2565  สำนักหอสมุดได้เชิญ อาจารย์ณภัค  อุทัยมณีรัตน์  ผู้ช่วยอธิการบดีประจำวิทยาเขตฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติวิทยาเขตเชียงใหม่  เป็นวิทยากร ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting  (เอกสารหมายเลข  1.5-6-2)

         3. มีการดำเนินการติดตามแผนบริหารความเสี่ยง โดยทำการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน กิจกรรม ทั้ง 4 ด้าน  ได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ด้านการเงิน ด้านการปฏิบัติงาน  และด้านการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบ  และรายงานผลการกำกับ ติดตามและผลประเมิน ต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของสำนักหอสมุดและบุคลากรสำนักหอสมุด ในการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 30  มิถุนายน  2565  (เอกสารหมายเลข 1.5-6-3)

         4. สำนักหอสมุดได้มีการจัดกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของสำนักหอสมุด ประจำปีงบประมาณ 2565  เมื่อ วันพุธ ที่  27 กรกฎาคม  2565 พ.ศ. 2565  สำนักหอสมุด  ได้เชิญ อาจารย์ ณภัค  อุทัยมณีรัตน์  ผู้ช่วยอธิการบดีประจำวิทยาเขตฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติวิทยาเขตเชียงใหม่  เป็นวิทยากร เพื่อทบทวนและจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ณ ห้องประชุมเอื้องสายเชียงใหม่  ชั้น 8  อาคารสำนักหอสมุด  (เอกสารหมายเลข  1.5-6-4)                                                   

           5. มีการติดตามผลการดำเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง โดยมีการติดตามจากการประชุม และติดตามทางไลน์กลุ่มของสำนักหอสมุด เพื่อนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงครั้งที่ 3/2565  (เอกสารหมายเลข 1.5-6-5)   

 

 

6. สำนักหอสมุดมีการกำกับติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบ และร่วมหาข้อเสนอแนะในการดำเนินการแก้ไขปัญหา อุปสรรค เพื่อ  ปรับหรือจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงในรอบปี 2566 เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2565 (เอกสารหมายเลข 1.5-6-6)

         7. สำนักหอสมุดได้จัดทำรายงานผลแผนบริหารความเสี่ยงต่อมหาวิทยาลัย (เอกสารหมายเลข 1.5-6-7) ดังนี้

1. การบริหารความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : SR)

โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์ สำนักหอสมุด

วัตถุประสงค์ : เพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนกลยุทธ์ สำนักหอสมุด

ตารางที่ 1  รายงานผลการบริหารความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์

ความเสี่ยงตาม

พันธกิจ

(1)

ผลกระทบ

 

(2)

ปัจจัยความเสี่ยง

 

(3)

การจัดการความเสี่ยง

(4)

กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ

(5)

สถานการณ์ดำเนินงาน

(6)

ผลการดำเนิน งาน

(7)

ระดับ

(8)

SR1   แผนกลยุทธ์หน่วยงานไม่สามารถนำไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์องค์กร 

การดำเนิน งานของหน่วยงาน ไม่สอด คล้องกับยุทธ

ศาสตร์ มหาวิทยาลัย

SR1.1  ไม่ได้ทบทวนแผนกลยุทธ์ตามระยะเวลาที่กำหนด

จัดกิจกรรมทบทวนแผนกลยุทธ์

งานบริหารทั่วไป

«

ได้แผนกลยุทธ์

þ  ต่ำ ลดลง

ในระดับที่

ยอมรับได้

 

 

 

 

2. การบริหารความเสี่ยง ด้านการเงิน (Financial Risk : FR) 

โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ  การจัดทำแผนเบิกจ่ายงบประมาณ

วัตถุประสงค์ : เพื่อเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

ตารางที่  2  รายงานผลการบริหารความเสี่ยง ด้านการเงิน

 

ความเสี่ยงตาม

พันธกิจ

(1)

ผลกระทบ

 

(2)

ปัจจัยความเสี่ยง

 

(3)

การจัดการความเสี่ยง

(4)

กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิด

ชอบ

(5)

สถานการณ์ดำเนินงาน

(6)

ผลการดำเนินงาน

(7)

ระดับ

(8)

FR1  การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

 

 

 

 

 

เป็นปัจจัยทำให้การเบิกจ่ายงบประมาณของมหาวิทยา

ลัยอาจไม่เป็นไปตามค่าเป้าหมาย

FR1.1

ไม่ได้มีการ

กำกับ

ติดตาม

การเบิกจ่าย

1.มีแผน การเบิก จ่ายงบ ประมาณ

2. โปรแกรมการติดตามการเบิก จ่ายงบ ประมาณโดยระบบ โปรแกรมการเบิก จ่าย3 มิติ

 

งานบริหารทั่วไป

«

1.มีแผน

ปฏิบัติการประจำปี

2. มีระบบโปรแกรม 3 มิติในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

þ  ต่ำ ลดลง

ในระดับที่

ยอมรับได้

 

 

 

 

 

 

 

 

3. การบริหารความเสี่ยง ด้านการปฏิบัติงาน (Operation Risk : OR) 

โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ : การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี

วัตถุประสงค์ :  เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผน ปฏิบัติการประจำปี

ความเสี่ยงตาม

พันธกิจ

(1)

ผลกระทบ

 

(2)

ปัจจัยความเสี่ยง

 

(3)

การจัดการความเสี่ยง

(4)

กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ

(5)

สถานการณ์ดำเนินงาน

(6)

ผลการดำเนินงาน

(7)

ระดับ

(8)

OR 1 ไม่มีการใช้ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์

ใช้งบประมาณไม่คุ้มค่า/ไม่เกิดประโยชน์

OR1.1 

ไม่มี

ผู้เข้าใช้

บริการ

a) เสนอแนะงานพัสดุ จัดหาหน้ากาก N95 และเครื่องฟอกอากาศในบริเวณที่เกี่ยวข้อง

งานพัฒนาและจัดระบบทรัพยากรฯ

 

«

จัดหาเครื่องฟอกอากาศ และทุกชั้น(แต่ควรเพิ่มจำนวนเครื่องฟอกอากาศ)

þ

ลดลง

ในระดับ

ที่สูง

อยู่

 

 

 

 

b) ติดแผ่นกรองฝุ่นละอองในเครื่องปรับ อากาศภายในอาคาร

งานพัฒนาและจัดระบบทรัพยากรฯ

«

มีการสำรองแผ่นกรองฝุ่นละออง เมื่อแผ่นกรองหมดอายุการใช้งาน

þ

ปานกลาง

 ในระดับ

ที่ต้องเฝ้าระวัง

 

 

 

c)กิจกรรม

ส่งเสริม

การอ่าน

และการ

ใช้งาน

ทรัพยากร

อิเล็กทรอนิกส์

งานเทคโนโลยีห้องสมุด

 

«

ส่งเสริมการใช้งานผ่านระบบ Web Subject Guide

þ

ลดลง

ในระดับ

ที่สูงอยู่

 

 

 

 

 

 

 

OR 2 โรคระบบทางเดินหายใจ

 

 

 

หายใจไม่สะดวก สถานที่อับชื้น เกิดการสะสมของฝุ่นละออง เป็นอันตราย

ต่อระบบทางเดินหายใจของผู้ปฏิบัติงานจัดชั้น และผู้ใช้บริการ

OR2.1  

ฝุ่น

ละออง

ภายในอาคาร

a) เสนอแนะงานพัสดุ จัดหาหน้ากาก N95 และเครื่องฟอกอากาศในบริเวณที่เกี่ยวข้อง

งานพัฒนาและจัดระบบทรัพยากรฯ

 

«

จัดหาเครื่องฟอกอากาศ และทุกชั้น(แต่ควรเพิ่มจำนวนเครื่องฟอกอากาศ)

þ

ลดลง

ในระดับ

ที่สูงอยู่

 

 

 

 

b) ติดแผ่นกรองฝุ่นละอองในเครื่องปรับ อากาศภายในอาคาร

งานพัฒนาและจัดระบบทรัพยากรฯ

«

มีการสำรองแผ่นกรองฝุ่นละออง เมื่อแผ่นกรองหมดอายุการใช้งาน

þปาน

กลางใน

ระดับที่

ต้องเฝ้า

ระวัง

OR 3 การจัดการสุขอนามัยและสิ่งแวดล้อม:กรณีสถานที่นอกอาคารเป็นที่อยู่อาศัยของนกพิราบ

เป็นโรคไข้หวัดนก โรคเชื้อราในปอด โรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบ โรคระบบทางเดินหายใจ

OR3.1  

นกพิราบ

มาอาศัย

บริเวณ

อาคาร

สำนัก

หอสมุด

a) จัดหาอุปกรณ์ป้องกันนกพิราบเข้ามาอาศัยภายในอาคาร

งานบริหารทั่วไป

«

จัดให้มีการติดตั้งตาข่ายสำหรับป้องกันนกพิราบเข้ามาอาศัยภายในอาคาร

þ  ต่ำ

ลดลงฃ

ใน

ระดับที่

ยอมรับได้

 

 

 

 

 

4. การบริหารความเสี่ยง ด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ (Compliance Risk : CR)

โครงการ/กิจกรรม/กระบวนการ : การปฏิบัติงานตามกฎหมายและระเบียบทางราชการ

วัตถุประสงค์ :  เพื่อให้ปฏิบัติงานตามกฎหมา และถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ

ตารางที่    รายงานผลการบริหารความเสี่ยง

 

ความเสี่ยงตาม

พันธกิจ

(1)

ผลกระทบ

 

(2)

ปัจจัยความเสี่ยง

 

(3)

การจัดการความเสี่ยง

(4)

กำหนดเสร็จ/ผู้รับผิดชอบ

(5)

สถานการณ์ดำเนินงาน

(6)

ผลการดำเนินงาน

(7)

ระดับ

(8)

FR1  การเบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามเป้าหมายการเบิกจ่าย

 

 

 

 

 

เป็นปัจจัยทำให้การเบิกจ่ายงบประมาณของมหาวิทยาลัย

อาจไม่เป็นไปตามค่าเป้าหมาย

FR1.1

ไม่ได้มีการ

กำกับ

ติดตาม

การเบิกจ่าย

1.มีแผน การเบิก จ่ายงบ ประมาณ

2. โปรแกรมการติดตามการเบิก จ่ายงบ ประมาณโดยระบบ โปรแกรมการเบิกจ่าย

3 มิติ

 

งานบริหารทั่วไป

«

1.มีแผน

ปฏิบัติการประจำปี

2. มีระบบโปรแกรม 3 มิติในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

þ  ต่ำ

ลดลง

ในระดับ

ที่ยอมรับ

ได้

 

 

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
1.5-6-2 รายงานผลการการอบรมเชิงปฏิบัติการปฏิบัติการ การทบทวนแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565 (ครั้งที่ 1)
1.5-6-3 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 2/2565
1.5-6-4 สรุปผลการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การบริหารความเสี่ยง ประจำปี 2565 (ครั้งที่2)
1.5-6-5 การติดตามแผนบริหารความเสี่ยงทางไลน์กลุ่มสำนัก หอสมุดและใน Facebook กลุ่มหัวหน้างาน
1.5-6-6 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงครั้ง ที่ 3/2565
1.5-6-7 สรุปผลการดำเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง สำนักหอสมุดประจำปี งบประมาณ 2565
1.5-6-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ครั้งที่ 1/2565

7. มีการนำผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยหรือคณะกรรมการความเสี่ยงของหน่วยงาน ไปใช้ในการปรับแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงในรอบปีถัดไป

ผลการดำเนินงาน


สำนักหอสมุดมีการนำผลการประเมินแผนบริหารความเสี่ยงจากสำนักงานตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัย  และข้อเสนอแนะคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง สำนักหอสมุด ได้ร่วมกันพิจารณาผลการดำเนินงาน และนำข้อเสนอแนะของสำนักตรวจสอบภายใน มาปรับแผนบริหารความเสี่ยง ในรอบปีงบประมาณ 2566 สรุปประเด็นดังนี้ (เอกสารหมายเลข 1.5-7-1,1.5-7-2 และ 1.5-7-3)

  1. ข้อมูลในระบบ WALAI AutoLib สูญหาย
  2. โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากฝุ่นละออง สำนักหอสมุด ศูนย์แม่ริม
  3. ไม่มีการใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
  4. เทคนิคและวิธีการใช้ถังดับเพลิง : กรณี เกิดไฟไหม้เฉพาะจุด

เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง


รหัส หลักฐาน
1.5-7-1 ผลกาประเมินแผนบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน
1.5-7-2 สรุปผลการดำเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง สำนักหอสมุดประจำปี งบประมาณ 2565
1.5-7-3 แผนบริหารความเสี่ยงประจำปีงบประมาณ 2566

ระบบบริหารจัดการงานประกันคุณภาพ
สำนักหอสมุด

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีประมาณ 2563

สำนักหอสมุด

202 ถ.ช้างเผือก ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่
โทรศัพท์ 0-5388-5900 โทรสาร 0-5388-5900

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2561 สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่